Photo credit www.dcrainmaker.com |
จากวันแรกที่ได้รับนาฬิกา Garmin 610 เรือนนี้ ที่ปัจจุบันเป็นนาฬิกาคู่ใจมาเมื่อ มิถุนายน 54 ระยะเวลาการใช้งานเกือบ 30 เดือน ก็ใกล้ถึงวาระที่จะปลดระวาง ซึ่งแน่นอน ของใหม่ที่จะมาทดแทนจะต้องมีดีเทียบเท่าหรือดีกว่าของที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน จึงเป็นที่มาของบทความในตอนนี้
นาฬิกา GPS รุ่น Forrunner 610 ที่จะนำมาเทียบ ถือว่าเป็น รุ่น 1 ของ 610 ที่ออกมา ซึ่งในครั้งนี้ จะนำมาเปรียบเทียบกับรุ่นที่เป็น Minor change ของ Series นี้ ก็คือ 620 forerunner
รูปลักษณ์นาฬิกา เมื่อเทียบกัน
หน้าจอเปรียบเทียบ ระหว่าง 610 และ 620 เครดิตภาพ จาก www.dcrainmaker.com |
สำหรับน้ำหนักจากรุ่นโลหะทำให้ค่อนข้างหนัก จากที่ DC Maker ชั่งมา คือ 77 กรัม
ขนาดของน้ำหนักนาฬิกา รุ่น 620 เครดิต ภาพจาก www.dcrainmaker.com |
Garmin 620 รูปแบบถูกปรับปรุง ให้ดูทันสมัยขึ้นและมีขนาดเพียวลง รูปแบบสายรัดข้อมือที่ดูอิสระและแข็งแรงขึ้นกว่าเดิม ผู้หญิงสามารถใส่แล้วดูไม่รุงรัง น้ำหนักของนาฬิกาที่ถูกปรับปรุงให้ลดลงเหลือเพียง 44 กรัม
หน้าจอ ทุกปรับปรุง เป็นหน้าจอสี แต่การใช้งานจริง ก็ยังเป็นหน้าจอขาวดำ อยู่
ฟังก์ชั่นใน garmin 620
garmin 620 แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อหลัก
เมื่อเปิดนาฬิกา จะพบ
1. หน้า จอ Run เลือกสำหรับ แสดงหน้าจอสำหรับเตรียมจับเวลา
2. รูปถ้วย เป็น private รูปแบบส่วนตัว ในส่วนของ
- My workouts ที่สามารถซิงค์ข้อมูลจาก connect.garmin.com ในรูปแบบของโปรแกรมฝึกซ้อมที่กำหนดเองลงมา
- Trainning Center เป็นการซิงค์ข้อมูล ตารางการซ้อมที่ garmin กำหนดขึ้นในคอมพิวเตอร์ลงมาที่นาฬิกา
- Intervals เป็นการกำหนดรูปแบบการซ้อมแบบ มีกำหนดเวลา สามารถกำหนดเป้าหมายได้เองที่นาฬิกา
3.แถบ 3 แถบ ด้านขวาของนาฬิกา ใช้สำหรับการกำหนดค่าต่างๆในนาฬิกา
3.1 History
- Activities
- Totals "แบ่งเป็น Weekly / Monthly
- Options "ใช้สำหรับ ลบ Activities / reset"
3.2 Record
แสดง PB ของนาฬิกาเรือนนี้
3.3 Setting
Activity Settings
- Data Screens แบ่งออกเป็น
Screen 1 -4 และ
Virtual Partner -- > Set Pace
Running Dynamics
- Alerts แบ่งออกเป็น
Heart Rate
Run / Walk
Pace
Time
Distance
Cadence
Colories
- Auto Lap
- Auto Pause
- Auto Scroll
- Timeout
Sensors --> Add Sensor
Wireless --> Bluetooth / wi-fi
User Profile
- Gender
- Birth Year
- Height
- Weight
- Heart Rate Zones
Alarm
System
- Language
- Clock
- Backlight
- Sounds
- Units
> Distance
> Pace / Speed
> Elevation
> Weight
> Height
- Theme Color
- GPS
- Format
- Data Recording --> Smart / Every Second
- Restore Defaults
- Software Update
- About
3.4 VO2 Max Race Predictor
3.5 Recovery Advisor
เมื่อเริ่มใช้งาน
สามารถดู รีวิว และคู่มือ ที่ทาง dcrainmaker.com ทำไว้
คู่มือการใช้งาน http://static.garmincdn.com/pumac/Forerunner_620_OM_EN.pdf
รีวิวของ DCrainMaker http://www.dcrainmaker.com/2013/11/garmin-forerunner-review.html
สำหรับโหลด app garmin fit มาใช้ที่คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ระบบ wifi
โหลด app garmin fit ในมือถือ ระบบ IOS6 ขึ้นไป เพื่อใช้ระบบการส่งข้อมูล ผ่าน bluetooth และ livetracks
สำหรับ andoids ทางผู้ผลิตแจ้งว่าจะใช้ได้ประมาณ กลางกุมภา 57
สำหรับในบล็อคนี้ จะเป็นเพียงการรีวิว ในส่วนของรายละเอียดการใช้งานเท่านั้น
เมื่อเข้ามาดูระบบภายในของ รุ่น 620 พบว่า มีเทคโนโลยี ที่เพิ่มเข้ามาจากรุ่น 610 และมีบางอย่างที่ถูกตัดไป
สิ่งที่เพิ่มเข้ามาในรุ่นนี้
1. เทคโนโลยี ของ Wireless มาใช้ ใน Bluetooth / wi-fi
2. เทคโนโลยี ของ Cadence สำหรับการนับจำนวนก้าว โดยไม่ต้องใช้ footpod
3. การประมวลผลในเรื่องของ Running Dynamic ที่ใช้ความสัมพันธ์ของการก้าวเท้า การดีดเท้าส่ง และ ช่วงเวลาการสัมผัสพื้น มาให้ดูข้อมูลและวิเคราะห์
4. เทคโนโลยี Live Track เชื่อมนาฬิกา โดย bluetooth กับมือถือ ปัจจุบันองรับเฉพาะ IOS
5. เทคโนโลยี ใช้ Heart Rate มาคำนวณ VO2MAX และ การพยากรณ์เวลา ในระยะทางวิ่งต่างๆ
6. เทคโนโลยี ใช้ Heart Rate มาคำนวณ Recovery Time เพื่อให้พร้อมสำหรับการซ้อม ครั้งต่อไป
7. New PB Record ที่เพิ่มเข้าในนาฬิการุ่นนี้ / เมื่อเคลียร์ workout ออกไป สถิติก็ยังอยู่ ยกเว้น การลบ record ที่จะทำให้หายไป
สิ่งที่ขาดหายไป
1. Bike Mode จากเดิมที่มี Sport ให้เลือกในรุ่น 610 คือ Running / Bicycle มาในรุ่นนี้ ไม่มี mode นั้นให้เลือกแล้ว
2. Virtual Racer ที่ถูกตัดออกไปเช่นกัน
ปุ่มด้านข้างของนาฬิกา
สิ่งที่ได้สัมผัสจากเมื่อครั้งแรกเมื่อเปิดใช้ครั้งแรก
จากข้อเสียของนาฬิกา 610 ที่มีปัญหาเรื่องสายขาด จากสายนาฬิกาที่ล็อคกับตัวเรือน มาถึงซีรีย์ 620 การ์มินได้ปรับมาใช้สายแบบเป็นหมุดแทน ซึ่งพิจารณาแล้ว ในระยะยาวคงไม่เกิดปัญหาเฉกเช่นรุ่น 610
สายนาฬิกา เป็นช่อง ระบายเหงือได้ง่ายกว่า
สำหรับหน้าปัดแสดงข้อมูล ในรุ่นนี้ มีส่วนที่แสดงเป็นสี แต่เมื่อเทียบกับ 610 หน้าจอจะเล็กกว่าเล็กน้อย
วัสดุที่เป็นตัวเรือน ดูแล้วเป็นมิตรกับผิวหนัง เพราะเป็นพลาสติก ทำให้ไม่มีปัญหาเรื่องการลอกของทองแดงเหมือน 610 รุ่นแรกๆ นี่คงเป็นอีกสาเหตุที่ทำให้นาฬิกาเบา
สำหรับการใช้งานครั้งแรก โดยที่ยังไม่ได้ ซิงค์เข้ากับคอมพิวเตอร์ เพื่ออัพเฟิรม์แวร์ นั้น ปัญหาที่พบ เมื่อเทียบกับนาฬิกาเรือนอื่นๆ คือ การตรวจจับสัญญาณ GPS นั้นจะจับได้ช้ากว่านาฬิการุ่น 610 , 405 มาก
และระยะทาง GPS ที่วัดได้จากนาฬิกา 620 มีค่ามากกว่า นาฬิกาเรือนอื่น ตกอยู่ที่ กม. ละ 5-10 เมตร
แต่เมื่อมีการซิงค์นาฬิกา และจะ garmin จะอัพเดตเฟิรม์แวร์ใหม่ ซึ่ง ณ ปัจจุบัน software update ที่ version 2.30 และ GPS Version update 2.90 แล้ว
หลังจากอัพเดตเฟิร์มแวร์แล้ว การค้นหาสัญญาณ GPS นั้น ทำได้ดีกว่านาฬิการุ่นอื่นๆ โดยใช้เวลาเพียงไม่เกิน 5 วินาทีในการจับสัญญาณ
การลงโปรแกรม Garmin Express Fit ลงในคอมพิวเตอร์
สามารถ Download ได้ที่ ลิงค์นี้ https://connect.garmin.com/help/start/Forerunner620-220
ลิงค์สำหรับ ดาวน์โหลด โปรแกรมเพื่อติดตั้งในคอมพิวเตอร์/โนตบุค |
สำหรับท่านที่เพิ่งใช้ garmin ครั้งแรก โปรดสมัครสมาชิกเว็บไซต์ก่อนที่ https://connect.garmin.com
การ Set up Garmin Express Fit
หลังจากโหลดข้อมูลมาเรียบร้อยแล้วให้ลงโปรแกรมตามขั้นตอน
และกด next ไปจบจบ
หน้าจอ แสดงการลงโปรแกรม photo credit from www.dcrainmaker.com |
หลังจากนั้นให้เสียบสาย USB เข้าที่คอมพิวเตอร์ และ นาฬิกา เพื่อให้คอมพิวเตอร์ตรวจสอบค่าและเชื่อมต่อกัน
เมื่อ garmin connect ตรวจพบนาฬิกา photo credit www.dcrainmaker.com |
ขั้นตอนการเซ็ตอัพ wifi ให้รู้จักนาฬิกา
รูปแสดงการจับคู่ ระหว่างนาฬิกาและคอมพิวเตอร์ photo credit www.dcrainmaker.com |
ขั้นตอน การกำหนด วง wifi ให้อยู่ในระบบ garmin เพื่อการส่งข้อมูล ระบบ wifi
photo credit www.dcrainmaker.com |
เลือก วง ของ wifi ที่ต้องการเพิ่ม
photo credit www.dcrainmaker.com |
ใส่ชื่อ ของ network และ เลือก security ตาม วง ของ wifi ที่กำหนดไว้ ซึ่งเราต้องใส่ชื่อ และ รหัส ให้ถูกต้อง ระบบจึงจะผ่านขั้นตอนนี้ให้
photo credit www.dcrainmaker.com |
หน้าจอแสดงรูป เมื่อ ส่งข้อมูล workout ผ่าน wi-fi สำเร็จ
หน้าจอ สำหรับ setup หากต้องการให้ ลบข้อมูล เมื่อ load ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
เป็นอันเสร็จขั้นตอนการโหลดข้อมูล
ปัญหาที่พบ เท่าที่ตัวเอง พอ คือ การส่งค่า wi-fi ไม่ได้ วิธีการแก้ไข คือ uninstall และลงโปรแกรมใหม่
การส่งข้อมูล การวิ่ง ผ่านระบบ WI-FI
เทคโนโลยี นี้ทำให้เราไม่จำเป็นที่จะหิ้ว notebook ของเราไปเพื่อ upload workouts ของเรา และสามารถ load ข้อมูลขึ้นเว็บได้ทันที โดยไม่ต้องใช้สายสำหรับเชื่อมต่อ เพียงมีสัญญาณ wi-fi เท่านั้น
ขั้นตอน ง่าย ๆ มีดังนี้
1. หลังจากที่ท่าน วิ่ง และ save ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
2. คอมพิวเตอร์ / notebook การเปิด-ปิด wireless ไว้ไม่เกี่ยวข้อง เพราะนาฬิกา ส่งข้อมูลผ่านสัญญาณ wi-fi ที่ถูกปล่อยออกมา ซึ่งหากเรากำหนดค่าไว้ในการเพิ่ม วง wi-fi น่าจะส่งข้อมูลได้โดยไม่ต้องหิ้วคอมพิวเตอร์หรือ notebook ไปด้วย (แต่อย่าลืมว่า การกำหนดค่าของ wi-fi จะต้องใช้สายลิงค์ และคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดค่าในครั้งแรก) ดังนั้นเราสามารถ ใช้โทรศัพท์มือถือของเราตั้งเป็น Hotspot สำหรับลิงค์ สัญญาณ wi-fi ได้
3. ไปที่ ที่มีสัญญาณ wi-fi ที่เราเพิ่มในระบบไว้ / เปิดสัญญาณ hotspot ที่โทรศัพท์มือถือ
4. นาฬิกาจะค้นหาสัญญาณเองหากเป็นการบันทึกผลทันที แต่ถ้ามา upload ที่หลัง ผู้ใช้ต้องกดปุ่ม connect ที่ อยู่ด้านขวา ส่วนล่างเอง เพื่อ ส่งค่า wi-fi
5. จากนั้น นาฬิกาจะค้นหา สัญญาณ wi-fi และเมื่อตรวจสอบพบ นาฬิกาจะเชื่อมต่อการส่งข้อมูล โดยที่นาฬิกาจะแสดงดังรูป
อนึ่งเนื่องจากเทคโนโลยี wi-fi นั้น การทำงานของนาฬิกามีหลักการคือจะส่งค่าทันที เมื่อวิ่งเสร็จ โดย FR620 จะทำการค้นหาสัญญาณ เพื่อเชื่อมต่อ ซึ่งจะทำเพียงช่วงเวลาสั้นๆ หากไม่พบสัญญาณ นาฬิกาก็จะหยุดการค้นหาทันที เพื่อเป็นการประหยัดแบตเตอร์รี้ที่ใช้ ซึ่งเราสามารถใช้วิธีส่งค่าเอง โดยการกดปุ่ม connect ดังที่กล่าวไว้แล้วในวิธีการ
การส่งข้อมูล การวิ่ง ผ่านระบบฺ ฺBluetooth
ถือเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่ garmin ทำออกมาเพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ เพื่อ load ข้อมูลขึ้นเว็บ ให้เร็วขึ้น ไม่ต้องรอไปโหลดที่บ้านเหมือนเมื่อก่อน หรือ ใช้วิธีการใช้ อุปกรณ์เสริมมา upload ที่เราต้องไปซื้ออุปกรณ์มาเชื่อมต่อเพิ่ม
ปัจจุบันรองรับเฉพาะโทรศัพท์ IOS 6 ขึ้นไป
*** สำหรับ แอนดรอย ทาง garmin จะออก app มาประมาณกลางเดือน กุมภา 2014 ครับ
วิธีการจับคู่นาฬิกา กับ โทรศัพท์มือถือ ผ่าน bluetooth
ท่านต้องไปโหลด app garmin ใน App Store ชื่อว่า Garmin Connect tm Mobile ในส่วนของเฉพาะ iphone app นี้ฟรี
หลังจากติดตั้งเรียบร้อยแล้วในโทรศัพท์ ให้เชื่อมต่อ โดยท่านต้องมี user id ในระบบของ garmin แล้ว ผมจะข้ามในขั้นตอนนี้ไป
ก่อนการจับคู่ให้ เปิด bluetooth ที่โทรศัพท์มือถือ พร้อมเปิด app Garmin Connect Mobile
วิธีการจับคู่ ที่นาฬิกาให้ทำโดย setting -->wireless -->bluetooth -->pairing mobile Device
เลือก Device Forerunner 620 จากนั้นเมื่อเชื่อมต่อสำเร็จ จะแสดงดังรูป
วิธีการ upload ผ่าน bluetooth
1. หลังจากวิ่งเรียบร้อย ให้เปิด ระบบ bluetooth ที่นาฬิกา setting --> wireless - bluetooth ให้ on จะมีสัญลักษณ์ bluetooth ที่นาฬิกา
2. เปิด Bluetooth ที่โทรศัพท์และ Garmin Connect App
3. จากนั้นนาฬิกาจะส่งสัญญาณ และ อัพโหลด ดังรูป
4. เป็นอันจบขั้นตอนการ อัพข้อมูลผ่าน blue-tooth
กรณีไม่สามารถส่งข้อมูลผ่านระบบ Blue-tooth ได้ ให้ดำเนินการดังนี้
1. เปิด Garmin Connect App และไปที่หัวข้อ My device
2. กดที่ ปุ่ม "i" ที่อยู่ด้านบนมุมฝั่งขวา และเลือก Remove Device
3. เลือก Remove the Forerunner 620
4. ปิด Garmin Connect App และต้องให้แน่ใจว่า ไม่ได้เปิดโปรแกรมนี้อยู่
5. ปิดระบบการทำงานของนาฬิกา โดย กดปุ่ม power/backling ค้างไว้ จนมัน Shutdown
6. เปิดนาฬิกาใหม่
7. เปิด Garmin Connect App และ ลองจับคู่นาฬิกาใหม่
8. ทดลองส่งข้อมูลอีกครั้ง
จบตอน ที่ 1
..
ตอนที่ 2
Live tracking การแสดงเส้นทางในขณะวิ่งสำหรับโลกออนไลน์
เทคโนโลยีนี้ Garmin ทำขึ้นมาเพื่อสนับสนุนใน Social Media โดยสามารถแชร์ เส้นทาง และรายละเอียดอื่นๆ ขึ้นในเว็บ แชร์ผ่าน facebook / twitter โดยสามารถเชิญเพื่อนๆ เข้ามาชม ผ่าน email โดยปัจจุบันสนับสนุนเพียง iphone อย่างเดียว
เทคโนโลยีนี้ จะต้องใช้ควบคู่กับโทรศัพท์มือถือเท่านั้น วิธีการมีดังนี้
1. เมื่อเปิดโทรศัพท์ ให้เข้า Garmin Connect และ เลือก My Device -- > LiveTrack จะแสดงดังรูป
2. ที่หัวข้อ Invite Recipients สามารถเลือก เชิญเพื่อนๆ ผ่านอีเมล์ เพื่อติดตามการวิ่งใน workouts นี้
โดย ลิงค์นี้ สามารถติดตามดูสด และย้อนหลังได้ภายใน 24 ชม หลังจากการกดหยุด live Track
photo credit www.dcrainmaker.com |
หน้าจอ สำหรับ setup หากต้องการให้ ลบข้อมูล เมื่อ load ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
photo credit www.dcrainmaker.com |
ปัญหาที่พบ เท่าที่ตัวเอง พอ คือ การส่งค่า wi-fi ไม่ได้ วิธีการแก้ไข คือ uninstall และลงโปรแกรมใหม่
การส่งข้อมูล การวิ่ง ผ่านระบบ WI-FI
เทคโนโลยี นี้ทำให้เราไม่จำเป็นที่จะหิ้ว notebook ของเราไปเพื่อ upload workouts ของเรา และสามารถ load ข้อมูลขึ้นเว็บได้ทันที โดยไม่ต้องใช้สายสำหรับเชื่อมต่อ เพียงมีสัญญาณ wi-fi เท่านั้น
ขั้นตอน ง่าย ๆ มีดังนี้
1. หลังจากที่ท่าน วิ่ง และ save ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
2. คอมพิวเตอร์ / notebook การเปิด-ปิด wireless ไว้ไม่เกี่ยวข้อง เพราะนาฬิกา ส่งข้อมูลผ่านสัญญาณ wi-fi ที่ถูกปล่อยออกมา ซึ่งหากเรากำหนดค่าไว้ในการเพิ่ม วง wi-fi น่าจะส่งข้อมูลได้โดยไม่ต้องหิ้วคอมพิวเตอร์หรือ notebook ไปด้วย (แต่อย่าลืมว่า การกำหนดค่าของ wi-fi จะต้องใช้สายลิงค์ และคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดค่าในครั้งแรก) ดังนั้นเราสามารถ ใช้โทรศัพท์มือถือของเราตั้งเป็น Hotspot สำหรับลิงค์ สัญญาณ wi-fi ได้
3. ไปที่ ที่มีสัญญาณ wi-fi ที่เราเพิ่มในระบบไว้ / เปิดสัญญาณ hotspot ที่โทรศัพท์มือถือ
4. นาฬิกาจะค้นหาสัญญาณเองหากเป็นการบันทึกผลทันที แต่ถ้ามา upload ที่หลัง ผู้ใช้ต้องกดปุ่ม connect ที่ อยู่ด้านขวา ส่วนล่างเอง เพื่อ ส่งค่า wi-fi
5. จากนั้น นาฬิกาจะค้นหา สัญญาณ wi-fi และเมื่อตรวจสอบพบ นาฬิกาจะเชื่อมต่อการส่งข้อมูล โดยที่นาฬิกาจะแสดงดังรูป
photo credit www.dcrainmaker.com |
photo credit www.dcrainmaker.com |
แสดง ลูกศร ขึั้นลง ใต้คำว่า GARMIN แสดงว่า กำลังส่งข้อมูล photo credit www.dcrainmaker.com |
อนึ่งเนื่องจากเทคโนโลยี wi-fi นั้น การทำงานของนาฬิกามีหลักการคือจะส่งค่าทันที เมื่อวิ่งเสร็จ โดย FR620 จะทำการค้นหาสัญญาณ เพื่อเชื่อมต่อ ซึ่งจะทำเพียงช่วงเวลาสั้นๆ หากไม่พบสัญญาณ นาฬิกาก็จะหยุดการค้นหาทันที เพื่อเป็นการประหยัดแบตเตอร์รี้ที่ใช้ ซึ่งเราสามารถใช้วิธีส่งค่าเอง โดยการกดปุ่ม connect ดังที่กล่าวไว้แล้วในวิธีการ
การส่งข้อมูล การวิ่ง ผ่านระบบฺ ฺBluetooth
ถือเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่ garmin ทำออกมาเพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ เพื่อ load ข้อมูลขึ้นเว็บ ให้เร็วขึ้น ไม่ต้องรอไปโหลดที่บ้านเหมือนเมื่อก่อน หรือ ใช้วิธีการใช้ อุปกรณ์เสริมมา upload ที่เราต้องไปซื้ออุปกรณ์มาเชื่อมต่อเพิ่ม
ปัจจุบันรองรับเฉพาะโทรศัพท์ IOS 6 ขึ้นไป
*** สำหรับ แอนดรอย ทาง garmin จะออก app มาประมาณกลางเดือน กุมภา 2014 ครับ
วิธีการจับคู่นาฬิกา กับ โทรศัพท์มือถือ ผ่าน bluetooth
ท่านต้องไปโหลด app garmin ใน App Store ชื่อว่า Garmin Connect tm Mobile ในส่วนของเฉพาะ iphone app นี้ฟรี
หลังจากติดตั้งเรียบร้อยแล้วในโทรศัพท์ ให้เชื่อมต่อ โดยท่านต้องมี user id ในระบบของ garmin แล้ว ผมจะข้ามในขั้นตอนนี้ไป
ก่อนการจับคู่ให้ เปิด bluetooth ที่โทรศัพท์มือถือ พร้อมเปิด app Garmin Connect Mobile
วิธีการจับคู่ ที่นาฬิกาให้ทำโดย setting -->wireless -->bluetooth -->pairing mobile Device
ภาพแสดงการจับคู่ระหว่างนาฬิกา และ โทรศัพท์มือถือ ผ่าน bluetooth photo credit www.dcrainmaker.com |
เลือก Device Forerunner 620 จากนั้นเมื่อเชื่อมต่อสำเร็จ จะแสดงดังรูป
photo credit www.dcrainmaker.com |
วิธีการ upload ผ่าน bluetooth
1. หลังจากวิ่งเรียบร้อย ให้เปิด ระบบ bluetooth ที่นาฬิกา setting --> wireless - bluetooth ให้ on จะมีสัญลักษณ์ bluetooth ที่นาฬิกา
2. เปิด Bluetooth ที่โทรศัพท์และ Garmin Connect App
3. จากนั้นนาฬิกาจะส่งสัญญาณ และ อัพโหลด ดังรูป
ขณะอัพโหลดข้อมูลจากนาฬิกาเข้าสู่ Garmin Connect Photo credit www.dcrainmaker.com |
กรณีไม่สามารถส่งข้อมูลผ่านระบบ Blue-tooth ได้ ให้ดำเนินการดังนี้
1. เปิด Garmin Connect App และไปที่หัวข้อ My device
2. กดที่ ปุ่ม "i" ที่อยู่ด้านบนมุมฝั่งขวา และเลือก Remove Device
3. เลือก Remove the Forerunner 620
4. ปิด Garmin Connect App และต้องให้แน่ใจว่า ไม่ได้เปิดโปรแกรมนี้อยู่
5. ปิดระบบการทำงานของนาฬิกา โดย กดปุ่ม power/backling ค้างไว้ จนมัน Shutdown
6. เปิดนาฬิกาใหม่
7. เปิด Garmin Connect App และ ลองจับคู่นาฬิกาใหม่
8. ทดลองส่งข้อมูลอีกครั้ง
จบตอน ที่ 1
..
ตอนที่ 2
Live tracking การแสดงเส้นทางในขณะวิ่งสำหรับโลกออนไลน์
เทคโนโลยีนี้ Garmin ทำขึ้นมาเพื่อสนับสนุนใน Social Media โดยสามารถแชร์ เส้นทาง และรายละเอียดอื่นๆ ขึ้นในเว็บ แชร์ผ่าน facebook / twitter โดยสามารถเชิญเพื่อนๆ เข้ามาชม ผ่าน email โดยปัจจุบันสนับสนุนเพียง iphone อย่างเดียว
เทคโนโลยีนี้ จะต้องใช้ควบคู่กับโทรศัพท์มือถือเท่านั้น วิธีการมีดังนี้
1. เมื่อเปิดโทรศัพท์ ให้เข้า Garmin Connect และ เลือก My Device -- > LiveTrack จะแสดงดังรูป
โดย ลิงค์นี้ สามารถติดตามดูสด และย้อนหลังได้ภายใน 24 ชม หลังจากการกดหยุด live Track
3. เลือกหัวข้อที่ต้องการแชร์ ในสังคมออนไลน์ Facebook / Twitter
4. กดปุ่ม Start Live Track เพื่อเริ่มวิ่ง จะแสดงรูปดังข้างล่าง
5. เพื่อนๆ สามารถติดตาม เส้นทางวิ่งสดๆ ผ่าน social ที่เราเลือกเผยแพร่ ดังรูป
VO2MAX Race Predicate
ฟังก์ชั่นการคำนวณระดับความฟิตนี้ จะต้องใช้ควบคู่กับสาย Heart Rate เพื่อตรวจสอบการทำงานและอัตราการเต้นของหัวใจขณะวิ่ง ซึ่งจะแสดงระดับความฟิต หลังจบการวิ่ง ดังรูป
เทียบค่าความฟิต จาก เพศ อายุ คำนวณออกมาเป็นโซนให้
ซึ่ง Workouts ทั้งหมด จะถูกรวบรวมประมวลผล เป็นการพยากรณ์ สถิติการวิ่งในระยะต่างๆ ของผู้ใช้ขึ้นมาให้ดังรูป
"ซึ่งในมุมมองส่วนตัวของผู้ใช้ คิดว่าการพยากรณ์ดังกล่าว ที่ได้ทดสอบมา ยังมีค่าความคาดเคลื่อนอยู่มาก เพราะการทำสถิติต่างๆ มีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง มากกว่าค่าจากการจับอัตราการเต้นของหัวใจ และสถิติการซ้อมทีได้บันทึกไว้"
Recovery Advisor
เป็นฟังก์ชั่นที่ต่อเนื่องมาจาก Vo2Max ที่ใช้ Heart Rate ในการคำนวณค่าออกมา โดยใช้ข้อมูลจาก 6 นาทีแรกของการ Workout หากเราคาดสาย Heart Rate นาฬิกาจะแสดงค่าแจ้ง ว่า Recovery Check ของเราอยู่ในระดับไหน โดยการแสดงข้อความขึ้นมาดังรูป
ในส่วนของ Recovery advisor อีกอันหนึ่ง คือ การแจ้ง ระยะเวลาที่ต้องพัก ที่สั้นที่สุด เพื่อให้ร่างกายพร้อมต่อการซ้อมหนัก ครั้งต่อไป ดังรูป ซึ่งเป็นการป้องกันการซ้อมที่หนักเกินไปที่จะก่อให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมาได้
Running Dynamics
เป็นฟังค์ชั่นที่จะนำข้อมูลจากการวิ่งมาวิเคราะห์ โดยต้องอาศัย Heart Rate Sensor ที่มาพร้อมกับรุ่นนี้โดยเฉพาะ ไม่สามารถใช้ Heart Rate รุ่นเก่าได้ โดยค่าที่ได้จาก ฟังก์ชั่นี้ มีดังนี้
1. Cadence ต่อการวิ่ง 1 กม. Cadence คือจำนวนก้าวที่ใช้ในการวิ่งต่อ 1 กม. ในส่วนนี้ ใช้วิธีการคำนวณจากจังหวะแกว่งแขนพร้อมนาฬิกา ที่มี sensor chip อยู่ที่นาฬิกา ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับสาย Heart Rate
2. Vertical Oscillation นี้การวัดค่าในส่วนนี้เป็นเรื่องของทฤษฏีการใช้พลังงาน และการใช้ร่างกาย โดยวัดค่าจากแรงดีดในการเคลื่อนย้ายไปข้างหน้า โดยวัดจากตำแหน่งของ Heart Rate ที่อก และสัมพันธ์กับจังหวะการก้าวเท้าแต่ละข้าง ในจังหวะขึ้นลง ในการเคลื่อนไปข้างหน้า
3. Ground Contact Time ตัวชี้วัดนี้จะครอบคลุมถึงระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละ ฝีเท้าบนพื้นดินที่วัดเป็นหน่วยมิลลิวินาที (1,000 มิลลิวินาที = 1 วินาที) โดยปกติการใช้เวลาน้อยกว่าบนพื้นดินจะทำให้ได้จังหวะที่เร็วขึ้นในการวิ่งและนักวิ่งที่ เก่งๆ ส่วนใหญ่มักจะมีจังหวะค่อนข้างเร็ว นั่นหมายถึงการใช้เวลาบนพื้นให้น้อยที่สุด คุณอาจจะเห็นตัวเลขนี้มีความผันผวนโดยตรงกับที่ของจังหวะซึ่งในสถานการณ์ที่คนจำนวนมากมีแนวโน้มที่จะยังมีความสัมพันธ์กับความเร็ว
Water proofing
สำหรับนาฬิการุ่นนี้ รองรับการว่ายน้ำ ที่ระดับความลึกไม่เกิน 50 เมตร จากการทดสอบของ dcrainmaker ที่ทดสอบแล้ว ว่าสามารถใช้ว่ายน้ำในทะเลได้ 2 ชม โดยไม่มีปัญหาใดๆกับนาฬิกาเพราะไม่มีส่วนที่เป็นโลหะทำปฏิกิริยากับน้ำทะเลสำหรับส่วนของนาฬิกา แต่ ส่วนปุ่มกด และข้อต่อต่างๆ ยังไม่แน่ใจ
Battery Life
ตามคู่มือที่ทาง Garmin แจ้งว่าสามารถใช้ได้ ประมาณ 10 ชม จากการชาร์ตเต็ม แต่จากที่ได้ทดลองวิ่งมาราธอนที่ผ่านมา ปรากฏว่า วิ่งไป 4 ชม ใช้แบตเตอรี่ไป 50% พอดี จึงคิดว่า อายุการใช้งานในแต่ละรอบคงไม่ถึงตามที่ Garmin แจ้งคุณสมบัติไว้
Training Plan
download from connect garmin to FR620
บนเว็บไซต์ของ garmin connect ปัจจุบันมีโปรแกรมเสริม สำหรับสร้างตารางสำหรับการฝึกซ้อมเพื่อเป้าหมายการทำสถิติให้ดีขึ้นในระยะต่างๆ ขึ้นมา ซึ่งเราสามารถเข้าไปที่หัวข้อ Plan-->Training Plan โดยกำหนดวันเริ่มของกิจกรรมไป ระบบจะดำเนินการสร้างตารางซ้อมออกมาให้เราในปฏิทินการวิ่งของเรา
1. ไปที่ connect.garmin.com
2. ไปที่ tab Plan และ เลือก Training Plan ดังรูป
3. หลังจากเลือก Training plan และ จะแสดงหน้าจอ ดังรูป เพื่อให้เลือกเป้าหมายในการฝึกซ้อม กด browse training plan
4. จากนั้นก็จะมีตารางการซ้อม ในแต่ละ ระยะที่เราต้องการเลือก ขึ้นมา ให้เราเลือกระยะ และระดับที่ต้องการฝึกซ้อม ซึ่ง level เรียงจาก เบา ไปหาหนัก
5. หลังจากเลือก ตารางแล้ว จะแสดงหน้าจอดังรูป ให้กด schedule
6. จากนั้น ให้เลือก วันที่ เริ่มต้น ตารางซ้อม และ วันที่สิ้นสุด จากนั้นให้กด Save
7. เมื่อเสร็จสิ้น ระบบจะแจ้งดังหน้าจอ
8. สำหรับการส่ง ตารางการซ้อมไปที่นาฬิกา รุ่น 620 ให้ปฏิบัติ ตามดังต่อไปนี้
9. ไปที่ tab Plan และ เลือก Calendar จะเห็นหน้าจอดังรูป
Personal Best Records
สำหรับการ์มิน ในการจัดเก็บสถิติที่ดีที่สุดของการวิ่ง ในระยะทาง 10K Half Marathon และ Marathon ยังคงเป็นหลักการเดียวกันกับเว็บไซต์ connect.garmin.com
กล่าวคือ การจัดเก็บสถิติ นั้น ระบบไม่ได้สนใจที่ระยะที่ตรง ของการบันทึกนั้นๆ โดยระบบของ garmin จะจัดเก็บ personal record จากระยะทางรวมเมื่อกดนาฬิกาหยุด โดยไม่สนใจว่า ระยะจะเกินไปกี่เมตร หรือกี่กิโลเมตร ตัวอย่างเช่น เมื่อวิ่งจริง 10.30 กม ใช้เวลา 53.05 นาที และกดบันทึก Garmin PB Record จะเช็คเพียง ระยะเดิมที่เก็บข้อมูล เช่น 10KM เทียบกับ ระยะใหม่ที่ทำได้ใช้เวลาน้อยกว่าหรือไม่ สมมติว่าถ้าสถิติเดิม อยู่ที่ 53 นาที อยู่ที่ระยะจริง 10 กม พอดี สำหรับสถิติการวิ่งวันนี้เมื่อเทียบแล้วมีค่าสูงกว่า ก็จะไม่ถูกบันทึกลง ทั้งบนนาฬิกาและบนเว็บ ซึ่งไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าใดนัก เพราะเมื่อคำนวณจริงแล้ว การวิ่งระยะ 10.30 กม. ถ้าย้อนกลับระยะมาที่ 10 กม. เวลาย่อมใช้น้อยกว่านี้
ซึ่งแตกต่างจากหลักการเก็บข้อมูลของ Endomondo ที่คำนวณจากระยะทาง 10 KM จริงๆ โดยใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุด ใน workout ในการเก็บข้อมูล
จบตอน 2
...................................
ตอนที่ 3
การใข้งานจริง
รายละเอียดอื่นรอเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนอื่นต่อไป .....>
5. เพื่อนๆ สามารถติดตาม เส้นทางวิ่งสดๆ ผ่าน social ที่เราเลือกเผยแพร่ ดังรูป
VO2MAX Race Predicate
ฟังก์ชั่นการคำนวณระดับความฟิตนี้ จะต้องใช้ควบคู่กับสาย Heart Rate เพื่อตรวจสอบการทำงานและอัตราการเต้นของหัวใจขณะวิ่ง ซึ่งจะแสดงระดับความฟิต หลังจบการวิ่ง ดังรูป
หน้าจอแสดง VO2MAX เมื่อวิ่งจบที่นาฬิกา Photo Credit www.dcrainmaker.com |
หน้าจอแสดง VO2MAX เมื่อวิ่งจบที่ garmin connect Photo Credit www.dcrainmaker.com |
หน้าจอแสดงค่าการพยากรณ์สถิติ ที่ผู้ใช้สามารถจะทำได้ Photo Credit www.dcrainmaker.com |
Recovery Advisor
เป็นฟังก์ชั่นที่ต่อเนื่องมาจาก Vo2Max ที่ใช้ Heart Rate ในการคำนวณค่าออกมา โดยใช้ข้อมูลจาก 6 นาทีแรกของการ Workout หากเราคาดสาย Heart Rate นาฬิกาจะแสดงค่าแจ้ง ว่า Recovery Check ของเราอยู่ในระดับไหน โดยการแสดงข้อความขึ้นมาดังรูป
ในส่วนของ Recovery advisor อีกอันหนึ่ง คือ การแจ้ง ระยะเวลาที่ต้องพัก ที่สั้นที่สุด เพื่อให้ร่างกายพร้อมต่อการซ้อมหนัก ครั้งต่อไป ดังรูป ซึ่งเป็นการป้องกันการซ้อมที่หนักเกินไปที่จะก่อให้เกิดอาการบาดเจ็บขึ้นมาได้
Running Dynamics
เป็นฟังค์ชั่นที่จะนำข้อมูลจากการวิ่งมาวิเคราะห์ โดยต้องอาศัย Heart Rate Sensor ที่มาพร้อมกับรุ่นนี้โดยเฉพาะ ไม่สามารถใช้ Heart Rate รุ่นเก่าได้ โดยค่าที่ได้จาก ฟังก์ชั่นี้ มีดังนี้
1. Cadence ต่อการวิ่ง 1 กม. Cadence คือจำนวนก้าวที่ใช้ในการวิ่งต่อ 1 กม. ในส่วนนี้ ใช้วิธีการคำนวณจากจังหวะแกว่งแขนพร้อมนาฬิกา ที่มี sensor chip อยู่ที่นาฬิกา ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับสาย Heart Rate
2. Vertical Oscillation นี้การวัดค่าในส่วนนี้เป็นเรื่องของทฤษฏีการใช้พลังงาน และการใช้ร่างกาย โดยวัดค่าจากแรงดีดในการเคลื่อนย้ายไปข้างหน้า โดยวัดจากตำแหน่งของ Heart Rate ที่อก และสัมพันธ์กับจังหวะการก้าวเท้าแต่ละข้าง ในจังหวะขึ้นลง ในการเคลื่อนไปข้างหน้า
3. Ground Contact Time ตัวชี้วัดนี้จะครอบคลุมถึงระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละ ฝีเท้าบนพื้นดินที่วัดเป็นหน่วยมิลลิวินาที (1,000 มิลลิวินาที = 1 วินาที) โดยปกติการใช้เวลาน้อยกว่าบนพื้นดินจะทำให้ได้จังหวะที่เร็วขึ้นในการวิ่งและนักวิ่งที่ เก่งๆ ส่วนใหญ่มักจะมีจังหวะค่อนข้างเร็ว นั่นหมายถึงการใช้เวลาบนพื้นให้น้อยที่สุด คุณอาจจะเห็นตัวเลขนี้มีความผันผวนโดยตรงกับที่ของจังหวะซึ่งในสถานการณ์ที่คนจำนวนมากมีแนวโน้มที่จะยังมีความสัมพันธ์กับความเร็ว
Water proofing
สำหรับนาฬิการุ่นนี้ รองรับการว่ายน้ำ ที่ระดับความลึกไม่เกิน 50 เมตร จากการทดสอบของ dcrainmaker ที่ทดสอบแล้ว ว่าสามารถใช้ว่ายน้ำในทะเลได้ 2 ชม โดยไม่มีปัญหาใดๆกับนาฬิกาเพราะไม่มีส่วนที่เป็นโลหะทำปฏิกิริยากับน้ำทะเลสำหรับส่วนของนาฬิกา แต่ ส่วนปุ่มกด และข้อต่อต่างๆ ยังไม่แน่ใจ
Battery Life
ตามคู่มือที่ทาง Garmin แจ้งว่าสามารถใช้ได้ ประมาณ 10 ชม จากการชาร์ตเต็ม แต่จากที่ได้ทดลองวิ่งมาราธอนที่ผ่านมา ปรากฏว่า วิ่งไป 4 ชม ใช้แบตเตอรี่ไป 50% พอดี จึงคิดว่า อายุการใช้งานในแต่ละรอบคงไม่ถึงตามที่ Garmin แจ้งคุณสมบัติไว้
Training Plan
download from connect garmin to FR620
บนเว็บไซต์ของ garmin connect ปัจจุบันมีโปรแกรมเสริม สำหรับสร้างตารางสำหรับการฝึกซ้อมเพื่อเป้าหมายการทำสถิติให้ดีขึ้นในระยะต่างๆ ขึ้นมา ซึ่งเราสามารถเข้าไปที่หัวข้อ Plan-->Training Plan โดยกำหนดวันเริ่มของกิจกรรมไป ระบบจะดำเนินการสร้างตารางซ้อมออกมาให้เราในปฏิทินการวิ่งของเรา
1. ไปที่ connect.garmin.com
2. ไปที่ tab Plan และ เลือก Training Plan ดังรูป
3. หลังจากเลือก Training plan และ จะแสดงหน้าจอ ดังรูป เพื่อให้เลือกเป้าหมายในการฝึกซ้อม กด browse training plan
4. จากนั้นก็จะมีตารางการซ้อม ในแต่ละ ระยะที่เราต้องการเลือก ขึ้นมา ให้เราเลือกระยะ และระดับที่ต้องการฝึกซ้อม ซึ่ง level เรียงจาก เบา ไปหาหนัก
5. หลังจากเลือก ตารางแล้ว จะแสดงหน้าจอดังรูป ให้กด schedule
6. จากนั้น ให้เลือก วันที่ เริ่มต้น ตารางซ้อม และ วันที่สิ้นสุด จากนั้นให้กด Save
7. เมื่อเสร็จสิ้น ระบบจะแจ้งดังหน้าจอ
8. สำหรับการส่ง ตารางการซ้อมไปที่นาฬิกา รุ่น 620 ให้ปฏิบัติ ตามดังต่อไปนี้
9. ไปที่ tab Plan และ เลือก Calendar จะเห็นหน้าจอดังรูป
10. กดที่ปุ่มขวามือ ที่ติดอยู่กับ ปุ่ม Year จะแสดง window popup menu เล็กๆขึ้นมาดังรูป
11. สำหรับการส่งโปรแกรมการซ้อมนี้ ไม่สามารถใช้ wi-fi หรือ blue-tooth ในการเชื่อมต่อและส่งข้อมูลได้ ต้องเสียบสาย USB ต่อเชื่อมเข้ากับตัวนาฬิกาเท่านั้น โดยจะต้องกดเลือก send device to device โดยจะมีแสดงหน้าจอเล็กๆ ขึ้นมาใหม่ ให้กดปุ่ม send อีกครัั้ง หลังจากนั้นหน้าจอจะให้เลือกรุ่นนาฬิกาที่ต้องการส่งค่าอีกครั้ง ให้เราเลือกรุ่นให้ถูก และขณะส่งข้อมูลจะแสดงหน้าจอดังรูป
12. เมื่อส่งข้อมูลเรียบร้อย จะแสดงหน้าจอดังรูป
13. ถอดนาฬิกาออกจากสาย USB นาฬิกาจะขึ้นข้อความ "Update"
14. กลับไปตรวจสอบตารางซ้อมที่นาฬิกา โดยเข้าที่ รูปถ้วย เลือก Training Calendar จะแสดงตารางซ้อมที่อยู่ใน garmin connect ลงมาที่นาฬิกาสำหรับฝึกซ้อม
*** หมายเหตุ ถ้าเช็คแล้วไม่เจอโปรแกรม ให้ย้อนกลับไปทำที่ข้อ 10 ใหม่ ถึงข้อ 12 และรอสักพักใหญ่ๆ ค่อยถอดสายนาฬิกาออกจาก USB แล้วค่อยทำข้อ 13-14
สำหรับการ์มิน ในการจัดเก็บสถิติที่ดีที่สุดของการวิ่ง ในระยะทาง 10K Half Marathon และ Marathon ยังคงเป็นหลักการเดียวกันกับเว็บไซต์ connect.garmin.com
กล่าวคือ การจัดเก็บสถิติ นั้น ระบบไม่ได้สนใจที่ระยะที่ตรง ของการบันทึกนั้นๆ โดยระบบของ garmin จะจัดเก็บ personal record จากระยะทางรวมเมื่อกดนาฬิกาหยุด โดยไม่สนใจว่า ระยะจะเกินไปกี่เมตร หรือกี่กิโลเมตร ตัวอย่างเช่น เมื่อวิ่งจริง 10.30 กม ใช้เวลา 53.05 นาที และกดบันทึก Garmin PB Record จะเช็คเพียง ระยะเดิมที่เก็บข้อมูล เช่น 10KM เทียบกับ ระยะใหม่ที่ทำได้ใช้เวลาน้อยกว่าหรือไม่ สมมติว่าถ้าสถิติเดิม อยู่ที่ 53 นาที อยู่ที่ระยะจริง 10 กม พอดี สำหรับสถิติการวิ่งวันนี้เมื่อเทียบแล้วมีค่าสูงกว่า ก็จะไม่ถูกบันทึกลง ทั้งบนนาฬิกาและบนเว็บ ซึ่งไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าใดนัก เพราะเมื่อคำนวณจริงแล้ว การวิ่งระยะ 10.30 กม. ถ้าย้อนกลับระยะมาที่ 10 กม. เวลาย่อมใช้น้อยกว่านี้
ซึ่งแตกต่างจากหลักการเก็บข้อมูลของ Endomondo ที่คำนวณจากระยะทาง 10 KM จริงๆ โดยใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุด ใน workout ในการเก็บข้อมูล
จบตอน 2
...................................
ตอนที่ 3
การใข้งานจริง
รายละเอียดอื่นรอเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนอื่นต่อไป .....>